เมนูหลัก

30212264Engineering Mathematics II
คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2
สังกัดคณะวิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์
หน่วยกิต3 (3-0-6)
สถานะรายวิชา:ใช้งาน
เงื่อนไขรายวิชา: 30212164 (#) หรือ
30212159
บุรพวิชา:30212164
รายวิชาต่อเนื่อง:30222164(#)
เลือก ปีการศึกษา: Sum / 2566 
รายชื่อ (Require login before downloading)

 บางแสน
ปริญญาตรี ปกติ
กลุ่มวันเวลาห้องอาคารเรียนที่นั่ง(เปิด-ลง-เหลือ)หมวดรายชื่อ 
  01 จันทร์13:00-15:50BS-4105BSC55523W    
  อังคาร09:00-11:50BS-4105BSC      
  พฤหัสบดี09:00-11:50BS-4105BSC      
อาจารย์ / ผู้สอน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวรส ศรีสุข
สำรองให้:คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้นปี 1
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้นปี 2
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้นปี 3
100-7-93
100-44-56
100-0-100
สอบกลางภาค: Lecture : 14 พ.ค. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 อาคาร CL ห้อง CL-101
ผู้คุมสอบกลางภาค: Lecture : ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวรส ศรีสุข
สอบปลายภาค: Lecture : 6 มิ.ย. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 อาคาร CL ห้อง CL-101
ผู้คุมสอบปลายภาค: Lecture : ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวรส ศรีสุข
หมายเหตุ: สำหรับนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัส 64-66
  02 จันทร์13:00-15:50BS-4203BSC55514W    
  อังคาร09:00-11:50BS-4203BSC      
  พฤหัสบดี09:00-11:50BS-4203BSC      
อาจารย์ / ผู้สอน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรียานุช เชื้อสุข
สอบกลางภาค: Lecture : 14 พ.ค. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 อาคาร CL ห้อง CL-101
ผู้คุมสอบกลางภาค: Lecture : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรียานุช เชื้อสุข
สอบปลายภาค: Lecture : 6 มิ.ย. 2567 เวลา 09:00 - 12:00 อาคาร CL ห้อง CL-101
ผู้คุมสอบปลายภาค: Lecture : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรียานุช เชื้อสุข
หมายเหตุ: สำหรับนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัส 64-66
Course Description
ระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว การประยุกต์ของปริพันธ์จากัดเขต การหาพื้นที่ ปริมาตร ความยาวของส่วนโค้ง พื้นที่ผิวที่เกิดจากการหมุน การหาพื้นที่ ความยาวส่วนโค้งและพื้นที่ผิวของเส้นโค้งในระบบพิกัดเชิงขั้ว การประมาณค่าของปริพันธ์จากัดเขตโดยใช้ระเบียบวิธีเชิงเลข รูปแบบยังไม่ได้กาหนด และกฎของโลปิตาล อินทิกรัลไม่ตรงแบบ ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน ระบบพิกัดทรงกระบอก103และระบบพิกัดทรงกลมในสามมิติ เวกเตอร์และเรขาคณิตวิเคราะห์ในสามมิติ พีชคณิตของเวคเตอร์ในสามมิติ อนุพันธ์และปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ ปริพันธ์หลายชั้นของฟังก์ชันหลายตัวแปรและการประยุกต์ ปริพันธ์ตามเส้น

Rectangular and polar coordinates; applications of definite integrals, to find areas, volumes, arc length of curves and areas of surfaces of revolutions; finding areas, arc length and surfaces of revolutions in polar coordinate system; numerical approximations of definite integrals; indeterminate forms and L’Hospital’s rule; improper integrals; Cartesian, cylindrical and spherical coordinate systems in three dimensions; vectors and analytic geometry in three dimensional space; vector algebra in three dimensions; differentiation and integration of vector valued function of real variable and applications; multiple integrals of several variable functions and applications; line Integral

หมายเหตุ
เรียน  C = Lecture  L = Lab  R = ประชุม  S = Self Study  T = ติว
หมวด  B = วิชาเสริมพื้นฐาน  E = วิชาเลือกเฉพาะสาขา  F = วิชาเลือกเสรี  G = วิชาศึกษาทั่วไป  M = วิชาพื้นฐาน  W = วิชาบังคับ  X = - ยังไม่กำหนด




  
มหาวิทยาลัยบูรพา | สกอ. | กยศ. | สมศ. | Vision Net Co.Ltd. | 
Powered by Vision Net, 1995 - 2010   Contact Staff : กองทะเบียนและประมวลผลการศึกษา โทรศัพท์ 038-102715-29